ครัวเรือนฐานราก พ.ศ. 2566
93 ครัวเรือนฐานราก พ . ศ . 2566 ด้านการศึกษาและการทำ างาน ประกอบด้วย สัดส่วนครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนจบการศึกษา ระดับประถมศึกษาหรือต่ำ ากว่า และสัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนทำ างานในภาคเกษตร เมื่อพิจารณาคุณลักษณะของครัวเรือนในประเด็นด้านการศึกษาและการทำ างานแล้ว จะเห็นว่า กลุ่มครัวเรือนฐานรากมีสัดส่วนครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนจบการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำ ากว่า และสัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนทำ างานในภาคเกษตร แตกต่างจากครัวเรือนกลุ่มควินไทล์ที่ 2 นั่นคือสามารถบ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานรากได้ เว้นแต่สัดส่วนครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนจบ การศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำ ากว่า สามารถบ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานรากได้ที่ระดับ ความเชื่อมั่น 99.0% ทั้งนี้เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยและสัดส่วนระหว่างกลุ่มครัวเรือนฐานรากกับ กลุ่มควินไทล์ที่ 5 พบว่า สัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนทำ างานในภาคเกษตรมีความต่าง 4.11 เท่า และสัดส่วนครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนจบการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำ ากว่ามีความต่างถึง 2.80 เท่า เป็นที่น่าสังเกตว่า ความแตกต่างระหว่างกลุ่มครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ในภาคเหนือ ของทุกตัวแปร ต่ำ ากว่าความแตกต่างระหว่างกลุ่มครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ในภาพรวมทั่วประเทศ ด้านค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน (ตามหมวด) ประกอบด้วย หมวดอาหารและ เครื่องดื่ม (ไม่มีแอลกอฮอล์) หมวดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมวดยาสูบ/หมาก/ยานัตถุ์และอื่น ๆ หมวดเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า หมวดค่าใช้จ่ายส่วนบุคคล หมวดเวชภัณฑ์ และค่ารักษาพยาบาล หมวดการเดินทาง หมวดการสื่อสาร หมวดการศึกษา หมวดการบันเทิงการ อ่านและกิจกรรมทางศาสนา และหมวดการจัดงานพิเศษ “¡ลุ่ม¤รัÇเรือ¹ฐÒ¹รÒ¡ใ¹ÀÒ¤เห¹ือ มี¤ÇÒมเหลื่อมล้ ำ Ò ด้Ò¹¡Òรศึ¡ษÒและ¡Òรทำ ÒงÒ¹ ต่ำ Ò¡Ç่ÒÀÒพรÇมทั่Çประเทศ” “ ¤่Òใช้จ่Òยเฉลี่ยต่อเดือ¹ใ¹หมÇดยÒสูบ/หมÒ¡/ยÒ¹ัตถุ์และอื่¹ ๆ และหมÇด¡ÒรจัดงÒ¹พิเศษ ไม่ได้บ่งบอ¡¤ÇÒมเป็¹ ¤รัÇเรือ¹ฐÒ¹รÒ¡ใ¹ÀÒ¤เห¹ือ” แตกต่างจากครัวเรือนกลุ่มควินไทล์ที่ 2 นั่นคือสามารถบ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานรากได้ที่ระดับ ความเชื่อมั่น 95% ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยและสัดส่วนระหว่างกลุ่มครัวเรือนฐานรากกับ กลุ่มควินไทล์ที่ 5 พบว่า ความต่างสูงสุดคือ สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออม ถึง 3.68 เท่า รองลงมาคือ สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบที่ 2.79 เท่า และ สัดส่วนครัวเรือนที่ได้รับเงิน จากคนนอกครัวเรือน (ญาติ) ที่ 1.97 เท่า เป็นที่น่าสังเกตว่า ความแตกต่างระหว่างกลุ่มครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ในภาคเหนือ สูงกว่าความแตกต่างระหว่างกลุ่มครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ในภาพรวม ทั่วประเทศ เกือบทุกตัวแปร ยกเว้นตัวแปรสัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ สัดส่วนครัวเรือนที่ได้ รับเงินจากคนนอกครัวเรือน (ญาติ) และ มูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน ที่ความแตกต่างในภาคเหนือ มีค่าต่ำ ากว่าความแตกต่างภาพรวมทั่วประเทศ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==