ครัวเรือนฐานราก พ.ศ. 2566

80 ครัวเรือนฐานราก พ . ศ . 2566 ด้านลักษณะของคนในครัวเรือน ประกอบด้วย ขนาดครัวเรือน จำ านวนสมาชิกในครัวเรือน ที่เป็นเด็ก (อายุ 0-14 ปี) จำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นผู้สูงอายุ ความหนาแน่นของจำ านวนสมาชิก ต่อห้องนอน อัตราพึ่งพิง (สัดส่วนของสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเด็กและผู้สูงอายุต่อจำ านวน ผู้อยู่ในวันแรงงาน) และสัดส่วนคนทำ างานหารายได้ เมื่อพิจารณาคุณลักษณะของครัวเรือนในประเด็นด้านลักษณะของคนในครัวเรือนแล้ว จะเห็นว่า กลุ่มครัวเรือนฐานรากมีขนาดครัวเรือน จำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเด็ก จำ านวนสมาชิกใน ครัวเรือนที่เป็นผู้สูงอายุ ความหนาแน่นของจำ านวนสมาชิกต่อห้องนอน อัตราพึ่งพิง และสัดส่วนคนทำ างาน หารายได้ แตกต่างจากครัวเรือนกลุ่มควินไทล์ที่ 2 นั่นคือสามารถบ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานรากได้ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99.9% ทั้งนี้เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยและสัดส่วนระหว่างกลุ่มครัวเรือนฐานรากกับ กลุ่มควินไทล์ที่ 5 พบความต่างสูงสุดคือ กลุ่มครัวเรือนฐานราก มีจำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเด็ก มากกว่า กลุ่มควินไทล์ที่ 5 ถึง 6.33 เท่า รองลงมาคือจำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นผู้สูงอายุที่ 2.12 เท่า และความหนาแน่นของจำ านวนสมาชิกต่อห้องนอนที่ 1.87 เท่า เป็นที่น่าสังเกตว่า ความแตกต่างระหว่างกลุ่มครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ในกรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัด (ปทุมธานี นนทบุรีและสมุทรปราการ) สูงกว่าความแตกต่างระหว่าง กลุ่มครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ในภาพรวมทั่วประเทศ เกือบทุกตัวแปร ยกเว้นตัวแปรขนาด ครัวเรือน และตัวแปรสัดส่วนคนทำ างานหารายได้ ที่ความแตกต่างในกรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัด มีค่าต่ำ ากว่าความแตกต่างภาพรวมทั่วประเทศ ด้านสถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน ประกอบด้วย สัดส่วนครัวเรือนที่เป็นเจ้าของทรัพย์สิน ขนาดใหญ่ สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออม สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ สัดส่วนครัวเรือนที่ได้รับเงิน จากคนนอกครัวเรือน (ญาติ) รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน และมูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน เมื่อพิจารณาคุณลักษณะของครัวเรือนในประเด็นด้านสถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนแล้ว จะเห็นว่า ทุกตัวแปรของปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจของครัวเรือนสามารถบ่งบอกความเป็นครัวฐานรากได้ ยกเว้นแต่ สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ ทั้งนี้เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยและสัดส่วนระหว่างกลุ่มครัวเรือน ฐานรากกับกลุ่มควินไทล์ที่ 5 พบว่า ความต่างสูงสุดคือ สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออมที่ 4.94 เท่า รองลงมา คือสัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบที่ 3.26 เท่า และ สัดส่วนครัวเรือนที่ได้รับเงินจากคนนอก ครัวเรือน (ญาติ) ที่ 2.72 เท่า เป็นที่น่าสังเกตว่า ความแตกต่างระหว่างกลุ่มครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ในกรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัด (ปทุมธานี นนทบุรีและสมุทรปราการ) สูงกว่าความแตกต่างระหว่าง กลุ่มครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ในภาพรวมทั่วประเทศ เกือบทุกตัวแปร ยกเว้นตัวแปรสัดส่วน ครัวเรือนที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินขนาดใหญ่ สัดส่วนครัวเรือนที่ได้รับเงินจากคนนอกครัวเรือน (ญาติ) และ มูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน ที่ความแตกต่างในกรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัด มีค่าต่ำ ากว่า ความแตกต่างภาพรวมทั่วประเทศ “ป˜ จจัยด้Ò¹ลั¡ษณะของ¤¹ใ¹¤รัÇเรือ¹ ใ¹ ¡ทม. และ 3 จังหÇัด สÒมÒรถบ่งบอ¡ถึง¤ÇÒม เป็¹¤รัÇเรือ¹ฐÒ¹รÒ¡ได้ใ¹ทุ¡ ๆ ตัÇแปรที่ระดับ¤ÇÒมเชื่อมั่¹ 99.9%” “¡ลุ่ม¤รัÇเรือ¹ฐÒ¹รÒ¡ใ¹ ¡ทม. และ 3 จังหÇัด มีสัดส่ǹ¤รัÇเรือ¹ที่ไม่มี¡ÒรออมมÒ¡¡Ç่Ò ¡ลุ่ม¤Çิ¹ไทล์ที่ 5 ถึง 5 เท่Ò”

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==