รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด
57 2 - รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด จังหวัด ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน (บาทต่อเดือน) รายได้ประจำ า เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน (บาทต่อเดือน) รายได้ทั้งสิ้น เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน (บาทต่อเดือน) มูลค่าหนี้สิน ของครัวเรือน ทั้งสิ้น (บาท) สัดส่วน ค่าใช้จ่ายต่อ รายได้ประจำ า (ร้อยละ) สัดส่วน ค่าใช้จ่ายต่อ รายได้ทั้งสิ้น (ร้อยละ) มูลค่าหนี้สิน ต่อรายได้ ทั้งสิ้น (เท่า) มูลค่าหนี้สิน ต่อรายได้ ประจำ า (เท่า) ทั่วราชอาณาจักร 23,695 28,706 29,030 197,255 82.5 81.6 6.8 6.9 กรุงเทพมหานคร และ 3 จังหวัด 32,096 38,905 39,087 207,985 82.5 82.1 5.3 5.3 กรุงเทพมหานคร 32,736 39,921 40,051 161,050 82.0 81.7 4.0 4.0 นนทบุรี 31,331 36,716 36,767 267,543 85.3 85.2 7.3 7.3 ปทุมธานี 36,003 45,067 45,729 362,493 79.9 78.7 7.9 8.0 สมุทรปราการ 27,355 32,161 32,263 211,962 85.1 84.8 6.6 6.6 ภาคกลาง 24,635 29,939 30,200 182,494 82.3 81.6 6.0 6.1 กาญจนบุรี 21,348 24,076 24,723 183,408 88.7 86.3 7.4 7.6 จันทบุรี 27,322 43,623 43,857 248,280 62.6 62.3 5.7 5.7 ฉะเชิงเทรา 23,548 28,999 29,146 78,872 81.2 80.8 2.7 2.7 ชลบุรี 31,685 35,752 35,981 282,402 88.6 88.1 7.8 7.9 ชัยนาท 21,520 26,926 27,543 246,576 79.9 78.1 9.0 9.2 ตราด 23,181 31,269 31,521 165,966 74.1 73.5 5.3 5.3 นครนายก 21,709 24,874 24,993 133,832 87.3 86.9 5.4 5.4 นครปฐม 25,433 32,591 32,692 168,027 78.0 77.8 5.1 5.2 ประจวบคีรีขันธ์ 21,654 25,942 26,010 132,584 83.5 83.3 5.1 5.1 ปราจีนบุรี 21,012 23,695 23,883 151,926 88.7 88.0 6.4 6.4 พระนครศรีอยุธยา 26,743 33,757 33,919 231,845 79.2 78.8 6.8 6.9 เพชรบุรี 23,040 28,655 28,823 190,746 80.4 79.9 6.6 6.7 ระยอง 27,928 33,125 33,226 183,633 84.3 84.1 5.5 5.5 ราชบุรี 26,438 30,503 31,367 314,967 86.7 84.3 10.0 10.3 ตาราง 15 ความสัมพันธ์ของรายได้ ค่าใช้จ่าย และมูลค่าหนี้สินทั้งสิ้นของครัวเรือน รายจังหวัด 2.3.2 สัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ของครัวเรือน สัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ของครัวเรือน แสดงให้เห็นถึงภาระหนี้สินของครัวเรือน เมื่อเปรียบเทียบกับรายได้ที่ ได้รับในแต่ละเดือน กล่าวคือ หากครัวเรือนมีรายได้เพิ่มขึ้น สัดส่วนนี้จะลดลง ซึ่ งหมายความว่า ครัวเรือนมีความสามารถในการชำ าระหนี้ เพิ่มขึ้น ในทางตรงกันข้าม หากครัวเรือนมีรายได้ ต่อเดือนลดลง สัดส่วนนี้จะเพิ่มขึ้น นั่นคือ ครัวเรือนมีความสามารถในการชำ าระหนี้ลดลง ทั้งนี้ สัดส่วนที่คำ านวณ จากรายได้ทั้งสิ้นและรายได้ประจำ ามีค่าต่างกันเล็กน้อย ตามคำ านิยามของรายได้ เมื่อพิจารณาครัวเรือนทั่วประเทศ ซึ่งรวมถึงครัวเรือนที่มีหนี้และครัวเรือนที่ไม่มีหนี้ (ตาราง 15) พบว่า ครัวเรือนมีมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ประจำ า คิดเป็นสัดส่วน 6.9 เท่า โดยครัวเรือนมีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อ รายได้ประจำ าสูงสุด คือ ครัวเรือนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 9.1 เท่า รองลงมาคือ ครัวเรือนภาคเหนือ 7.8 เท่า และหากพิจารณาครัวเรือนในระดับจังหวัดพบว่าครัวเรือนในจังหวัดสุรินทร์มีมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ประจำ าสูงสุด คือ 13.3 เท่า ในขณะที่จังหวัดสุพรรณบุรีมีมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ประจำ าต่ำ าสุดคือ 2.2 เท่า
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==