รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด

62 2 - รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด จังหวัด ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน ที่เป็นหนี้ (บาทต่อเดือน) รายได้ประจำ า เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน ที่เป็นหนี้ (บาทต่อเดือน) รายได้ทั้งสิ้น เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน ที่เป็นหนี้ (บาทต่อเดือน) มูลค่าหนี้สิน ของครัวเรือน ที่เป็นหนี้ (บาท) สัดส่วน ค่าใช้จ่าย ต่อรายได้ ประจำ า (ร้อยละ) สัดส่วน ค่าใช้จ่ายต่อ รายได้ ทั้งสิ้น (ร้อยละ) มูลค่าหนี้สิน ต่อรายได้ ทั้งสิ้น (เท่า) มูลค่าหนี้สิน ต่อรายได้ ประจำ า (เท่า) ภาคใต้ 29,670 36,030 36,574 478,928 82.3 81.1 13.1 13.3 กระบี่ 29,526 32,877 33,841 497,864 89.8 87.2 14.7 15.1 ชุมพร 32,231 40,194 40,796 423,025 80.2 79.0 10.4 10.5 ตรัง 26,278 31,976 32,272 371,283 82.2 81.4 11.5 11.6 นครศรีธรรมราช 29,686 42,879 43,691 529,333 69.2 67.9 12.1 12.3 นราธิวาส 26,456 28,742 28,824 256,837 92.0 91.8 8.9 8.9 ปัตตานี 21,176 23,843 23,941 210,590 88.8 88.4 8.8 8.8 พังงา 27,936 30,668 30,777 423,319 91.1 90.8 13.8 13.8 พัทลุง 26,044 32,460 32,748 495,231 80.2 79.5 15.1 15.3 ภูเก็ต 44,281 46,773 47,084 790,478 94.7 94.0 16.8 16.9 ยะลา 23,393 37,587 37,655 349,327 62.2 62.1 9.3 9.3 ระนอง 30,010 35,102 35,430 407,140 85.5 84.7 11.5 11.6 สงขลา 28,694 31,300 31,349 653,718 91.7 91.5 20.9 20.9 สตูล 24,541 26,720 26,793 355,795 91.8 91.6 13.3 13.3 สุราษฎร์ธานี 32,428 39,368 40,793 402,626 82.4 79.5 9.9 10.2 ตาราง 16 ความสัมพันธ์ของรายได้ ค่าใช้จ่าย และมูลค่าหนี้สินของครัวเรือนที่เป็นหนี้ รายจังหวัด (ต่อ) เมื่อพิจารณาเฉพาะครัวเรือนที่เป็นหนี้ทั่วประเทศ (ตาราง 16) พบว่า ครัวเรือนที่เป็นหนี้ มีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ประจำ า คิดเป็น 12.2 เท่า โดยครัวเรือนที่เป็นหนี้ในภาคใต้มีสัดส่วนมูลค่าหนี้สิน ต่อรายได้ประจำ าสูงสุด 13.3 เท่า ในขณะที่ภาคกลางมีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ประจำ าต่ำ าสุด 10.9 เท่า และหาก พิจารณาครัวเรือนที่เป็นหนี้ในระดับจังหวัด พบว่า ครัวเรือนในจังหวัดสงขลามีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ประจำ า สูงสุด 20.9 เท่า ส่วนครัวเรือนในจังหวัดสุพรรณบุรีมีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ประจำ าต่ำ าสุด 3.8 เท่า และเมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ทั้งสิ้นของครัวเรือนทั่วประเทศ ในแต่ละสถานะทางเศรษฐสังคม (ตาราง 17) พบว่า ครัวเรือนผู้ถือครองทำ าการเกษตรมีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ ทั้งสิ้น 8.0 เท่า ซึ่งสูงกว่าครัวเรือนประเภทอื่น ๆ โดยครัวเรือนผู้ถือครองทำ าการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ทั้งสิ้นสูงสุด10.3เท่าสำ าหรับครัวเรือนผู้ประกอบธุรกิจที่ไม่ใช่การเกษตรมีสัดส่วนมูลค่า หนี้สินต่อรายได้ทั้งสิ้นของครัวเรือนสูงสุดในพื้นที่ภาคใต้ 10.2 เท่าส่วนครัวเรือนลูกจ้างเป็นครัวเรือนที่มีสัดส่วนมูลค่าหนี้สิน ต่อรายได้ทั้งสิ้นสูงสุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 9.9 เท่า โดยเฉพาะครัวเรือนลูกจ้างที่เป็นผู้จัดการ นักวิชาการ ผู้ปฏิบัติงานวิชาชีพ เสมียน พนักงานขายและให้บริการ มีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ทั้งสิ้นสูงถึง 11.5 เท่า สำ าหรับครัวเรือนผู้ไม่ได้ปฏิบัติงานในเชิงเศรษฐกิจมีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ทั้งสิ้นสูงสุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 6.8 เท่า โดยจังหวัดที่ครัวเรือนในประเภทนี้มีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ทั้งสิ้นสูงสุด 3 อันดับของประเทศไทย คือ สุรินทร์ (13.7 เท่า) สกลนคร (12.5 เท่า) และกระบี่ (10.6 เท่า)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==