รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2560 ระดับจังหวัด
2 – 86 ตาราง 23 ครัวเรือนที่มีหนี้สินและมูลค่าหนี้สินเฉลี่ย จาแนกตามกลุ่มควินไทล์รายได้ประจาของครัวเรือน รายจังหวัด (ต่อ) จังหวัด กลุ่มควินไทล์ที่ 1 กลุ่มควินไทล์ที่ 2 กลุ่มควินไทล์ที่ 3 กลุ่มควินไทล์ที่ 4 กลุ่มควินไทล์ที่ 5 ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สิน เฉลี่ยของ ครัวเรือน ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สิน เฉลี่ยของ ครัวเรือน ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สิน เฉลี่ยของ ครัวเรือน ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สิน เฉลี่ยของ ครัวเรือน ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สิน เฉลี่ยของ ครัวเรือน ภาคใต้ 18.2 51,530 18.5 69,179 19.5 119,292 20.3 160,853 23.5 450,277 กระบี่ 17.0 80,691 19.4 150,020 17.9 170,207 21.2 219,913 24.5 842,742 ชุมพร 17.2 94,275 20.3 55,860 22.0 161,904 19.0 148,052 21.6 331,638 ตรัง 22.7 53,444 15.0 51,120 17.7 89,163 22.3 145,139 22.4 552,620 นครศรีธรรมราช 19.2 51,698 17.2 79,878 19.1 129,258 19.5 142,706 25.0 361,710 นราธิวาส 22.7 15,892 9.1 5,434 20.7 17,880 14.3 36,863 33.2 226,195 ปัตตานี 20.3 20,221 16.9 24,501 21.3 62,988 18.5 115,818 23.0 467,408 พังงา 15.5 72,077 14.4 54,676 21.7 65,727 25.2 220,072 23.1 249,381 พัทลุง 17.3 102,375 20.7 88,487 19.0 115,771 18.5 128,801 24.5 483,427 ภูเก็ต 22.9 87,198 19.0 166,149 21.0 231,631 14.9 207,671 22.1 507,730 ยะลา 25.3 16,809 28.8 25,982 16.2 15,149 14.9 24,145 14.7 60,321 ระนอง 14.6 139,291 17.5 90,429 23.0 100,564 16.5 83,773 28.3 368,304 สงขลา 21.5 67,086 19.9 103,548 17.4 127,689 17.3 162,926 23.8 412,024 สตูล 17.1 55,253 18.7 44,239 21.4 171,720 19.2 202,621 23.6 362,188 สุราษฎร์ธานี 14.4 32,461 19.1 99,267 18.7 96,920 23.0 212,751 24.7 763,328 2.4.3 ลักษณะสาคัญของครัวเรือนตามกลุ่มควินไทล์ของรายได้ประ จา การแบ่งกลุ่มครัวเรือนออกเป็นกลุ่มควินไทล์ตามรายได้เฉลี่ยต่อคนของครัวเรือน นอกจากจะใช้ศึกษา ความเหลื่อมล้าทางด้านรายได้แล้ว ยังสามารถใช้ศึกษาลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนที่แตกต่างกัน ระหว่างกลุ่มควินไทล์ได้อีกด้วย ทั้งนี้ เพราะว่าความเหลื่อมล้าทางด้านรายได้ส่งผลโดยตรงให้เกิดความเหลื่อมล้าใน ด้านอื่นๆ เช่น ในเรื่องความเป็นอยู่ การเข้าถึงเทคโนโลยี เป็นต้น ลักษณะที่สาคัญบางประการ ระหว่างกลุ่มควินไทล์ที่ 1 และกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ที่ได้ศึกษาความ แตกต่างไว้ (ตาราง 24 - 25) มีดังต่อไปนี้ - ขนาดครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีรายได้น้อยที่สุด มีขนาด ครัวเรือนใหญ่กว่ากลุ่มควินไทล์ที่ 5 ซึ่งมีรายได้มากที่สุด - หัวหน้าครัวเรือนหญิง พบว่า ในภาพรวมของประเทศ และในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 5 มีหัวหน้าครัวเรือนเป็นหญิงมากกว่าครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 - ผู้มีงานทา พบว่า เกือบทุกภาคยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 5 มีสมาชิกในครัวเรือนที่มีงานทามากกว่าครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==