เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2568

เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2568 174 ประเด็นเด่นเขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย ตลอดระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) เขตเศรษฐกิจพิเศษในประเทศไทย มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในทุกด้าน โดยจะเห็นได้จากการเติบโตทางเศรษฐกิจของแต่ละ เขตพื้นที่ที่สะท้อนผ่านผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product : GPP) หรือดัชนีที่ใช้ส� าหรับชี้วัดมูลค่าเศรษฐกิจในจังหวัด ซึ่งเมื่อพิจารณา GPP ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ทั้ง 6 กลุ่ม จะพบว่า พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เป็นพื้นที่ที่มี GPP สูงกว่า เขตเศรษฐกิจพิเศษ กลุ่มอื่น (2,698,343 ล้านบาท ในปี 2565) ในขณะที่ พื้นที่ระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ (NEC) เป็นพื้นที่ที่มี GPP น้อยที่สุด (516,819 ล้านบาท ในปี 2565) แผนภูมิ 7.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวม หมายเหตุ : r คือ การปรับปรุงข้อมูลย้อนหลัง (Revised) p คือ ค่ารายปีที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลเบื้องต้น (Preliminary) ที่มา : ส� านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประมวลผลพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษโดยส� านักงานสถิติแห่งชาติ % สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม จ� าแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. 2565 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม พ.ศ. 2561-2565 ล้านบาท ปี 2561 2562 2563r 2564r 2565p EEC 2,424,734 2,429,116 2,090,741 2,372,526 2,698,343 NEC 509,510 525,468 497,980 500,123 516,819 NeEC 660,484 664,348 655,672 689,209 719,693 CWEC 969,274 966,360 931,576 988,016 1,010,059 SEC 483,233 528,500 513,036 526,421 550,538 SEZs 763,352 779,166 747,400 772,152 819,679 2,424,734 2,429,116 2,090,741 2,372,526 2,698,343 509,510 525,468 497,980 500,123 516,819 0 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 EEC NEC NeEC CWEC SEC SEZs 2.7 16.7 14.5 9.0 34.5 23.5 70.4 22.4 31.5 53.4 17.6 22.5 26.9 60.9 53.9 37.6 47.9 54.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0 90.0 100.0 EEC NEC NeEC CWEC SEC SEZs ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการบริการ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==