เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2568
The Thailand Special Economic Zones 2025 13 พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ 4 ภาค 8 จาก การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ, โดย ส� านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2566, เข้าถึงเมื่อ 17 ตุลาคม 2567, จากhttps:/ /www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=13552&filename=special_economic_dev%20(page%2010) ตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 20 กันยายน 2565 ได้เห็นชอบให้ขยายการพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษไปยัง 4 ภาค เพิ่มเติม จากระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ โดยแต่งตั้ง คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (กพศ.) ให้ปรับปรุงแก้ไขพระราช บัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 ให้ครอบคลุมพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษอื่น ๆ ที่นอกเหนือจาก EEC 8 เพื่อกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค ลดความเหลื่อมล�้ าทางรายได้ และเสริมสร้างความมั่นคงในพื้นที่ รวมถึงเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยมี การก� าหนดเป้าหมายและแผนการพัฒนาไว้ในแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็น (09) เขตเศรษฐกิจพิเศษ (พ.ศ. 2566 - 2580) (ฉบับแก้ ไขเพิ่มเติม)ที่ได้จัดกลุ่มพื้นที่ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษออกเป็น 4 ภาค ดังนี้ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคเหนือ (Northern Economic Corridor: NEC) ประกอบด้วย ล� าปาง ล� าพูน เชียงราย และเชียงใหม่ 1 3 2 4 ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เฉียงเหนือ (Northeastern Economic Corridor: NeEC) ประกอบด้วย ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย และนครราชสีมา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคกลาง- ตะวันตก (Central-Western Economic Corridor: CWEC) ประกอบด้วย พระนครศรีอยุธยา นครปฐม สุพรรณบุรี และ กาญจนบุรี ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (Southern Economic Corridor: SEC) ประกอบด้วย ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ 4 ภาค
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==