เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2568
เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2568 18 การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน มีวัตถุประสงค์หลักในการกระจายความ เจริญสู่ภูมิภาค โดยมีเป้าหมายดังนี้: 1. ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ ด้วยสิทธิประโยชน์ด้านภาษีและที่ไม่ใช่ภาษี เช่น การอนุญาตให้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินและจ้างแรงงานไร้ทักษะและแรงงานฝีมือ จากต่างประเทศได้ 13 2. ลดความเหลื่อมล�้ าทางรายได้ และยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในพื้นที่ ชายแดน 14 3. เสริมความมั่นคง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พร้อมเชื่อมโยง เศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน พื้นที่เป้าหมาย : 10 จังหวัดชายแดน แบ่งการด� าเนินการออกเป็น 2 ระยะ เพื่อการพัฒนาที่ครอบคลุมและยั่งยืน ทั้งนี้มีการจัดสรรหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการด� าเนินการพัฒนาและได้มี การออกรายงานความก้าวหน้าในการด� าเนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 15 1 2 ระยะที่ 1 ปี 2558 ด� าเนินการใน 5 จังหวัด ได้แก่ ตาก มุกดาหาร สระแก้ว ตราด และสงขลา ประกอบด้วย 10 อ� าเภอ 36 ต� าบล ระยะที่ 2 ปี 2559 ด� าเนินการใน 5 จังหวัด ได้แก่ หนองคาย นราธิวาส เชียงราย นครพนม และกาญจนบุรี ประกอบด้วย 12 อ� าเภอ 55 ต� าบล 13 From Understanding special economic zones (SEZs) in Thailand, retrieved 21 October 2024, from https://thailand.acclime.com/guides/special-economic-zones/ 14 From Special Economic Zones (SEZs) Development Progress (February 2023), by Office of the National Economic and Social Development Council (NESDC), 2023, retrieved 21 October 2024, from https://www.nesdc.go.th / ewt_dl_link.php?nid=5195. 15 จาก ความก้าวหน้าการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ, โดย ส� านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2566, เข้าถึงเมื่อ 21 ตุลาคม 2567, จาก https://www.nesdc.go.th/more_news.php?cid=482
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==