เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2568

เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2568 20 แนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน 1. สิทธิประโยชน์จูงใจการลงทุน : ให้สิทธิทางภาษีและมิใช่ภาษี เพิ่มประสิทธิภาพ ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ และพัฒนาด่านผ่านแดนให้สะดวกยิ่งขึ้น 2. พัฒนาพื้นที่ตามศักยภาพ : ต่อยอดทรัพยากรและกิจกรรมเศรษฐกิจในพื้นที่ พร้อมเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน : เช่น การคมนาคม พลังงาน น�้ าประปา ที่อยู่อาศัย โรงพยาบาล และสถานศึกษา 4. ปรับปรุงกฎหมายและส่งเสริมการลงทุน : ปรับกฎระเบียบให้เอื้อต่อการพัฒนา เศรษฐกิจ และสนับสนุนการลงทุนในอุตสาหกรรมและบริการเป้าหมาย 5. ส่งเสริมเศรษฐกิจและสร้างงาน : ให้สอดคล้องกับศักยภาพและความต้องการ ของประชาชนในพื้นที่ เพื่อสร้างฐานเศรษฐกิจใหม่ 6. พัฒนาการจัดการแรงงาน : ปรับระบบให้มีประสิทธิภาพ รองรับกิจกรรม เศรษฐกิจ 7. พัฒนาเมืองน่าอยู่ : รองรับการลงทุนในและต่างประเทศ โดยเน้นพัฒนาเมือง ส� าคัญในระยะต่าง ๆ เช่น สงขลา (พ.ศ. 2561-2565), ตาก สระแก้ว เชียงราย (พ.ศ. 2566-2570) และนครพนม นราธิวาส ตราด (พ.ศ. 2576-2580) 17 8. ดูแลสิ่งแวดล้อมและพื้นที่สีเขียว : ส่งเสริมการพัฒนาควบคู่การรักษา สภาพแวดล้อม 9. เสริมศักยภาพชุมชนและเอกชน : เพิ่มขีดความสามารถในการผลิตและแข่งขัน 10. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม : สนับสนุนประชาชนและภาคีร่วมพัฒนาเพื่อยกระดับ คุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ 17 จาก แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (9) ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ (พ.ศ. 2561-2580), โดย ส� านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2562, เข้าถึงเมื่อ 21 ตุลาคม 2567, จาก http://nscr.nesdc.go.th/wp-content/uploads/2019/04/09-เขตเศรษฐกิจพิเศษ.pdf.pdf

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==