เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2568

เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2568 72 ซึ่งสูงกว่าภาพรวมทั่วประเทศ (ร้อยละ 20.2) (ประมวลผลจากโครงการส� ารวจภาวะ การท� างานของประชากร) และมีอัตราพึ่งพิงของกลุ่ม NEC เท่ากับ 0.68 หมายถึงประชากร วัยแรงงาน 1 คน ต้องดูแลเด็กและผู้สูงอายุ 0.68 คน ซึ่งหากเทียบกับทั่วประเทศพบว่า มีค่าที่สูงกว่า โดยทั่วประเทศมีอัตราพึ่งพิงอยู่ที่ 0.56 หรือประชากรวัยแรงงาน 1 คน ต้องดูแลเด็กและผู้สูงอายุ 0.56 คน ส่วนการศึกษาของประชากรในกลุ่ม NEC ข้อมูลปี 2567 (ไตรมาส 3) พบว่า สัดส่วนของประชากรที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปอยู่ที่ ร้อยละ 10.4 ซึ่งต�่ ากว่า ภาพรวมของทั่วประเทศ (ร้อยละ 13.1) โดยสัดส่วนของประชากรที่จบการศึกษาระดับต�่ ากว่า ประถมศึกษาสูงสุด ร้อยละ 26.7 รองลงมา ได้แก่ ระดับประถมศึกษา ร้อยละ 19.4 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 15.0 ที่มา : ประมวลผลข้อมูลจากการส� ารวจภาวะการท� างานของประชากร (ไตรมาส 3) ส� านักงานสถิติแห่งชาติ แผนภูมิ 2.16 ร้อยละของประชากร และอัตราพึ่งพิงของกลุ่ม NEC จ� าแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2563-2567 อัตราส่วน % 13.6 13.3 15.2 14.9 14.7 63.7 63.1 60.6 60.0 59.3 22.7 23.6 24.2 25.1 26.0 0.57 0.58 0.65 0.67 0.68 0.00 0.20 0.40 0.60 0.80 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 2563 2564 2565 2566 2567 ปี วัยเด็ก ( 0-14 ปี) วัยท� างาน ( 15-59 ) วัยสูงอายุ ( 60 ปีขึ้นไป) อัตราพึ่งพิง

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==