สถิติสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย พ.ศ. 2567
อากาศและเสียง สถิติสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย พ.ศ. 2567 27 บทที่ 2 อากาศและเสียง อากาศ: จากข้ อมูลคุณภาพอากาศบริ เวณกรุงเทพมหานคร ปี 2566 พบว่า จุดตรวจวัด ที่ มี ค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิ น 2.5 ไมครอน (PM 2.5 ) (เฉลี่ ย 24 ชั่วโมงสูงสุด) มากที่ สุดอยู่ที่ จุด ตรวจวัดบริ เวณริ มถนนกาญจนาภิ เษก เขตบางขุนเที ยน กรุงเทพมหานคร วัดได้ 137.0 ไมโครกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่ งมี ค่าเกิ นกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ กำ �หนดไว้ (ค่ามาตรฐานต้ องไม่เกิ น 37.5 ไมโครกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร) สำ �หรับจุดตรวจวัดที่ มี ค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิ น 10 ไมครอน (PM 10 ) (เฉลี่ ย 24 ชั่วโมงสูงสุด) มากที่ สุด คื อ จุดตรวจวัดถนนดิ นแดง เขตดิ นแดง วัดได้ 155.0 ไมโครกรัมต่อ ลูกบาศก์เมตร ซึ่ งเกิ นค่ามาตรฐานที่ กำ �หนดไว้ (ค่ามาตรฐานต้ องไม่เกิ น 120.0 ไมโครกรัมต่อ ลูกบาศก์เมตร) (ตารางที่ 2.5) หากพิ จารณาข้ อมูลคุณภาพอากาศในเขตปริ มณฑล พบว่า จุดตรวจ วัดที่ มี ค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิ น 2.5 ไมครอน (PM 2.5 ) (เฉลี่ ย 24 ชั่วโมงสูงสุด) มากที่ สุดอยู่ที่ จุดตรวจวัด ตำ �บลปากน้ ำ � อำ �เภอเมื อง จังหวัดสมุทรปราการ วัดได้ 156.0 ไมโครกรัมต่อ ลูกบาศก์เมตร ซึ่ งมี ค่าเกิ นกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ กำ �หนดไว้ (ค่ามาตรฐานต้ องไม่เกิ น 37.5 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) สำ �หรับฝุ่นละอองขนาดไม่เกิ น 10 ไมครอน (PM 10 ) (เฉลี่ ย 24 ชั่วโมง สูงสุด) มากที่ สุดอยู่ที่ จุดตรวจวัด ตำ �บลคลองหนึ่ ง อำ �เภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี วัดได้ 181.0 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่ งเกิ นค่ามาตรฐานที่ กำ �หนดไว้ (ค่ามาตรฐานต้องไม่เกิน 120.0 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) (ตารางที่ 2.6) และหากพิ จารณาข้ อมูลคุณภาพอากาศในพื ้ นที่ ต่างจังหวัด พบว่า ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิ น 2.5 ไมครอน (PM 2.5 ) (เฉลี่ ย 24 ชั่วโมงสูงสุด) มากที่ สุดอยู่ที่ จุดตรวจวัด ตำ �บลเวี ยงพางคำ � อำ �เภอแม่สาย จังหวัดเชี ยงราย วัดได้ 586.0 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่ งมี ค่าเกิ นกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ กำ �หนดไว้ มาก (ค่ามาตรฐานต้ องไม่เกิ น 37.5 ไมโครกรัมต่อ ลูกบาศก์เมตร พร้ อมกับเป็นจุดตรวจวัดที่ มี ค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิ น 10 ไมครอน (PM 10 ) (เฉลี่ ย 24 ชั่วโมงสูงสุด) มากที่ สุดเช่นกัน วัดได้ 714.0 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่ งเกิ นค่ามาตรฐาน ที่ กำ �หนดไว้ (ค่ามาตรฐานต้ องไม่เกิ น 120.0 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) (ตารางที่ 2.7) จากข้ อมูลคุณภาพอากาศที่ กล่าวมาข้ างต้ นหน่วยงานที่ เกี่ ยวข้ องควรหามาตรการควบคุมและลด ปริ มาณ PM 2.5 และ PM 10 เพื่ อป้ องกันผลกระทบต่อสุขภาพและผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้ อมของ ประชาชนที่ อยู่บริ เวณรอบจุดตรวจที่ เกิ นมาตรฐาน เช่น ห้ ามการเผาไหม้ เศษวัสดุในพื ้ นที่ ที่ มี ความเสี่ ยง สูง ส่งเสริ มการใช้ รถยนต์ไฟฟ้ าและการขนส่งสาธารณะ กำ �หนดมาตรฐานการปล่อยมลพิ ษสำ �หรับ โรงงานอุตสาหกรรม ให้ ข้ อมูลเกี่ ยวกับผลกระทบของ PM 2.5 และ PM 10 ทำ �ให้ ประชาชนเข้ าใจถึ ง ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่ งแวดล้ อม รณรงค์ปลูกต้ นไม้ และสร้ างพื ้ นที่ สี เขี ยวเพื่ อลดมลพิ ษทาง อากาศ เป็นต้ น
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==